บทที่ 1 อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แนะนำอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ตอนที่ 1 (17.18 นาที)
แนะนำอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ตอนที่ 2 (18.31 นาที)
คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ตอนที่ 1 (15.13 นาที)
คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ตอนที่ 2 (17.52 นาที)
การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ตอนที่ 1 (18.12 นาที)
การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ตอนที่ 2 (18.48 นาที)
การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ตอนที่ 3 (16.40 นาที)
การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ตอนที่ 4 (17.33 นาที)
การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ตอนที่ 5 (17.52 นาที)
โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ตอนที่ 1 (18.53 นาที)
โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ตอนที่ 2 (17.02 นาที)
สรุปบทเรียน (14.18 นาที)
บทที่ 2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสอง
การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสอง ตอนที่ 1 (16.50 นาที)
การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสอง ตอนที่ 2 (14.15 นาที)
การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสอง ตอนที่ 3 (17.36 นาที)
การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสอง ตอนที่ 4 (13.26 นาที)
การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสอง ตอนที่ 5 (16.49 นาที)
แนะนำสมการกำลังสองตัวแปรเดียว (17.27 นาที)
การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว ตอนที่ 1 (13.12 นาที)
การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว ตอนที่ 2 (15.12 นาที)
การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว ตอนที่ 3 (17.26 นาที)
การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว ตอนที่ 4 (13.18 นาที)
การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว ตอนที่ 5 (16.39 นาที)
การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว ตอนที่ 6 (16.55 นาที)
โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว ตอนที่ 1 (19.15 นาที)
โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว ตอนที่ 2 (17.13 นาที)
รูปเรขาคณิตที่คล้ายกัน (19.56 นาที)
รูปหลายเหลี่ยมที่คล้ายกัน ตอนที่ 1 (26.44 นาที)
รูปหลายเหลี่ยมที่คล้ายกัน ตอนที่ 2 (18.11 นาที)
รูปหลายเหลี่ยมที่คล้ายกัน ตอนที่ 3 (18.18 นาที)
รูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน ตอนที่ 1 (24.14 นาที)
รูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน ตอนที่ 2 (24.45 นาที)
รูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน ตอนที่ 3 (23.48 นาที)
รูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน ตอนที่ 4 (26.42 นาที)
โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน (19.07 นาที)
แนะนำฟังก์ชัน ตอนที่ 1 (21.25 นาที)
แนะนำฟังก์ชัน ตอนที่ 2 (22.35 นาที)
กราฟของฟังก์ชันกำลังสอง ตอนที่ 1 (23.40 นาที)
กราฟของฟังก์ชันกำลังสอง ตอนที่ 2 (15.47 นาที)
กราฟของฟังก์ชันกำลังสอง ตอนที่ 3 (25.53 นาที)
กราฟของฟังก์ชันกำลังสอง ตอนที่ 4 (23.08 นาที)
กราฟของฟังก์ชันกำลังสอง ตอนที่ 5 (13.11 นาที)
กราฟของฟังก์ชันกำลังสอง ตอนที่ 6 (21.26 นาที)
กราฟของฟังก์ชันกำลังสอง ตอนที่ 7 (16.14 นาที)
กราฟของฟังก์ชันกำลังสอง ตอนที่ 8 (29.58 นาที)
กราฟของฟังก์ชันกำลังสอง ตอนที่ 9 (14.11 นาที)
กราฟของฟังก์ชันกำลังสอง ตอนที่ 10 (25.02 นาที)
กราฟของฟังก์ชันกำลังสอง ตอนที่ 11 (25.46 นาที)
สรุปบทเรียน (19.05 นาที)
ควอร์ไทล์ : กิจกรรมพลังงานจากผลไม้ (18.15 นาที)
ควอร์ไทล์ (10.53 นาที)
แผนภาพกล่อง (16.01 นาที)
แผนภาพกล่องกับการกระจายของข้อมูล (15.24 นาที)
การเปรียบเทียบแผนภาพกล่อง (16.45 นาที)
การนำเสนอข้อมูลในรูปแผนภาพกล่องโดยใช้เทคโนโลยี (25.31 นาที)
แนะนำระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร (17.18 นาที)
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร ตอนที่ 1 (15.04 นาที)
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร ตอนที่ 2 (13.56 นาที)
โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร ตอนที่ 1 (18.58 นาที)
โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร ตอนที่ 2 (20.36 นาที)
โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร ตอนที่ 3 (17.55 นาที)
ความหมายและส่วนประกอบของวงกลม (14.03 นาที)
มุมที่จุดศูนย์กลางและมุมในส่วนโค้งของวงกลม ตอนที่ 1 (12.13 นาที)
มุมที่จุดศูนย์กลางและมุมในส่วนโค้งของวงกลม ตอนที่ 2 (20.39 นาที)
มุมที่จุดศูนย์กลางและมุมในส่วนโค้งของวงกลม ตอนที่ 3 (14.34 นาที)
มุมที่จุดศูนย์กลางและมุมในส่วนโค้งของวงกลม ตอนที่ 4 (17.14 นาที)
มุมที่จุดศูนย์กลางและมุมในส่วนโค้งของวงกลม ตอนที่ 5 (13.11 นาที)
คอร์ดของวงกลม ตอนที่ 1 (12.05 นาที)
คอร์ดของวงกลม ตอนที่ 2 (14.20 นาที)
คอร์ดของวงกลม ตอนที่ 3 (13.18 นาที)
คอร์ดของวงกลม ตอนที่ 4 (14.19 นาที)
เส้นสัมผัสวงกลม ตอนที่ 1 (18.53 นาที)
เส้นสัมผัสวงกลม ตอนที่ 2 (18.43 นาที)
เส้นสัมผัสวงกลม ตอนที่ 3 (15.55 นาที)
เส้นสัมผัสวงกลม ตอนที่ 4 (19.14 นาที)
สรุปบทเรียน (19.32 นาที)
ปริมาตรและพื้นที่ผิวของพีระมิด ตอนที่ 1 (21.39 นาที)
ปริมาตรและพื้นที่ผิวของพีระมิด ตอนที่ 2 (15.46 นาที)
ปริมาตรและพื้นที่ผิวของพีระมิด ตอนที่ 3 (19.13 นาที)
ปริมาตรและพื้นที่ผิวของพีระมิด ตอนที่ 4 (19.31 นาที)
ปริมาตรและพื้นที่ผิวของกรวย ตอนที่ 1 (18.56 นาที)
ปริมาตรและพื้นที่ผิวของกรวย ตอนที่ 2 (16.34 นาที)
ปริมาตรและพื้นที่ผิวของกรวย ตอนที่ 3 (18.39 นาที)
ปริมาตรและพื้นที่ผิวของกรวย ตอนที่ 4 (19.25 นาที)
ปริมาตรและพื้นที่ผิวของทรงกลม ตอนที่ 1 (20.10 นาที)
ปริมาตรและพื้นที่ผิวของทรงกลม ตอนที่ 2 (17.10 นาที)
ปริมาตรและพื้นที่ผิวของทรงกลม ตอนที่ 3 (15.25 นาที)
ปริมาตรและพื้นที่ผิวของทรงกลม ตอนที่ 4 (18.34 นาที)
โอกาสของเหตุการณ์ ตอนที่ 1 (19.32 นาที)
โอกาสของเหตุการณ์ ตอนที่ 2 (19.49 นาที)
ความน่าจะเป็น ตอนที่ 1 (21.10 นาที)
ความน่าจะเป็น ตอนที่ 2 (20.55 นาที)
ความน่าจะเป็น ตอนที่ 3 (14.43 นาที)
ความน่าจะเป็น ตอนที่ 4 (17.45 นาที)
ความน่าจะเป็น ตอนที่ 5 (13.38 นาที)
ความน่าจะเป็น ตอนที่ 6 (15.49 นาที)
ความหมายของอัตราส่วนตรีโกณมิติ ตอนที่ 1 (16.14 นาที)
ความหมายของอัตราส่วนตรีโกณมิติ ตอนที่ 2 (17.26 นาที)
อัตราส่วนตรีโกณมิติของมุมแหลม ตอนที่ 1 (16.20 นาที)
อัตราส่วนตรีโกณมิติของมุมแหลม ตอนที่ 2 (20.04 นาที)
การนำอัตราส่วนตรีโกณมิติไปใช้ในการแก้ปัญหา ตอนที่ 1 (16.46 นาที)
การนำอัตราส่วนตรีโกณมิติไปใช้ในการแก้ปัญหา ตอนที่ 2 (14.38 นาที)
การนำอัตราส่วนตรีโกณมิติไปใช้ในการแก้ปัญหา ตอนที่ 3 (12.16 นาที)
สรุปบทเรียน (20.44 นาที)
คำอธิบายรายวิชา รหัสวิชา ค23101 คณิตศาสตร์ 5
คำอธิบายรายวิชา
ศึกษา ฝึกทักษะและกระบวนการในสาระต่อไปนี้
อสมการ เขียนอสมการแทนข้อความที่เกี่ยวกับการไม่เท่ากันของจำนวน แก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว และเขียนกราฟแสดงคำตอบ แก้ปัญหาโดยใช้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว และตรวจสอบความสมเหตุสมผลของคำตอบ
การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสอง แยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสามที่อยู่ในรูปผลบวกของกำลังสาม และผลต่างของกำลังสามโดยใช้สูตรแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสาม
ที่สามารถจัดให้อยู่ในรูปผลต่างของกำลังสอง กำลังสองสมบูรณ์ ผลบวกของกำลังสาม หรือผลต่างของกำลังสาม โดยใช้สมบัติการเปลี่ยนหมู่ สมบัติการสลับที่ หรือสมบัติการแจกแจง
สมการกำลังสองตัวแปรเดียว แก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว นำความรู้เกี่ยวกับสมการกำลังสอง
ตัวแปรเดียวไปใช้ในการแก้ปัญหา
ความคล้าย ระบุเงื่อนไขที่ทำให้รูปหลายเหลี่ยมสองรูปคล้ายกัน และบอกสมบัติของรูปหลายเหลี่ยม
ที่คล้ายกัน ระบุเงื่อนไขที่ทำให้รูปสามเหลี่ยมสองรูปคล้ายกัน และบอกสมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน
ใช้สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกันในการให้เหตุผลและแก้ปัญหา
กราฟของฟังก์ชันกำลังสอง ระบุลักษณะพร้อมทั้งเขียนกราฟของฟังก์ชันกำลังสองที่อยู่ในรูป
y = ax2, y = ax2 + k , y = a(x – h)2, y = a(x – h)2 + k และ y = ax2 + bx + c เมื่อ a, b, c, h และ k เป็นค่าคงตัว ที่ a ≠ 0 นำความรู้เกี่ยวกับกราฟของฟังก์ชันกำลังสองไปใช้ในการแก้ปัญหา
สถิติ (3) นำเสนอข้อมูลในรูปแผนภาพกล่องโดยใช้วิธีการหรือเทคโนโลยีที่เหมาะสม อ่าน วิเคราะห์ และแปลความหมายผลลัพธ์ที่นำเสนอในรูปแผนภาพกล่อง ใช้ข้อมูลในการคาดคะเน สรุปผล และตัดสินใจ
ได้อย่างเหมาะสม
โดยจัดประสบการณ์ หรือสร้างสถานการณ์ในชีวิตประจำวันที่ใกล้ตัวให้ผู้เรียนได้ศึกษา ค้นคว้า
โดยปฏิบัติจริง ทดลอง สรุป รายงาน เพื่อพัฒนาทักษะและกระบวนการในการคิดคำนวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และนำประสบการณ์ด้านความรู้ ทักษะกระบวนการ
ที่ได้ไปใช้เรียนรู้สิ่งต่าง ๆ และใช้ในชีวิตประจำวันอย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งเห็นคุณค่าและเจตคติที่ดี
ต่อวิชาคณิตศาสตร์ สามารถทำงานอย่างเป็นระบบ ระเบียบ มีความรอบคอบ มีความรับผิดชอบ
มีวิจารณญาณ และมีความเชื่อมั่นในตนเอง
การวัดและประเมินผล ใช้วิธีการที่หลากหลายตามสภาพความเป็นจริงให้สอดคล้องกับเนื้อหา
และทักษะที่ต้องการวัด
รหัสตัวชี้วัด
ค 1.3 ม.3/1
ค 1.2 ม.3/1
ค 1.3 ม.3/2
ค 2.2 ม.3/1
ค 1.2 ม.3/2
ค 3.1 ม.3/1
1. โครงการ_ทุนความรู้__ติวสดออนไลน์ _ตะลุยโจทย์ พิชิต ONET คณิตศาสตร์ ม.3_ ครั้งที่ 2_1
2. โครงการ_ทุนความรู้__ติวสดออนไลน์ _ตะลุยโจทย์ พิชิต ONET คณิตศาสตร์ ม.3_ ครั้งที่ 2_2
3. โครงการ_ทุนความรู้__ติวสดออนไลน์ _ตะลุยโจทย์ พิชิต ONET คณิตศาสตร์ ม.3_ ครั้งที่ 2_3